ยื่นภาษี 2567 กรมสรรพากร เปิดให้บุคคลธรรมดา สามารถตรวจสอบได้

ยื่นภาษี 2567 เปิดวิธีตรวจข้อมูลภาษีส่วนตัว เช็กง่าย-รู้ผลทันที

ยื่นภาษี 2567 วันที่ 8 มกราคม 2567 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า กรมสรรพากร เปิดให้ผู้ที่มีเงินได้ บุคคลธรรมดา สามารถเข้าตรวจสอบ ในส่วนของ ข้อมูลภาษีของตนเอง ผ่านช่องทาง ของเว็บไซต์ https://www.rd.go.th/272.html เพื่อเปิดให้ ตรวจสอบประวัติ การยื่นภาษี แบบ ภ.ง.ด. 90/91 ข้อมูลค่าลดหย่อนต่างๆ โดยจะมีการ ระบุถึงรายละเอียด และสิทธิประโยชน์ ที่ผู้ทำรายการ จะได้รับตลอดปี ที่ผ่านมา ก่อนที่จะยื่น แบบแสดงรายการภาษีต่อไป สูตร บาคาร่าออนไลน์

ยื่นภาษี 2567

เช็กเงินอุดหนุนบุตร 600 บาท มกราคม 2567 เงินเข้าวันไหน
คิกออฟ 30 บาทรักษาทุกที่ ด้วยบัตรประชาชนใบเดียว นำร่อง 4 จังหวัด
ธุรกิจต่างชาติโบกมือลาจีนต่อ ทดลอง เล่น บาคาร่า เหตุเพราะพูดอย่างทำอย่าง นโยบายเอาแน่เอานอนไม่ได้

ขั้นตอนตรวจสอบข้อมูล
1. เข้าเว็บไซต์กรมสรรพากร https://www.rd.go.th/272.html
2. คลิกเมนู My Tax Account “ตรวจสอบข้อมูลทางภาษี”
3. ให้ท่านกรอกข้อมูล เพื่อเข้าสู่ระบบ ใส่เป็น หมายเลขประจำตัว ของผู้เสียภาษีอากร หรือเลขบัตรประจำตัวประชาชน และรหัสผ่าน แบบเดียวกันกับระบบ e-Filing จากนั้น ใส่เลข Laser ID หรือหลังบัตรประชาชน แล้วกด “เข้าสู่ระบบ” ได้เลย
4. หน้าจอทำรายการ จะปรากฏให้ท่าน ยืนยันตัวตน ระบบจะส่งเป็นรหัส OTP พร้อมรหัสอ้างอิง ไปยังหมายเลขโทรศัพท์มือถือ ที่ระบบได้ให้ไว้ จากนั้น กรอกเลขรหัสที่ได้รับ ภายในเวลาไม่เกิน 5 นาที
5. จากนั้น ที่หน้าระบบ จะแสดงหน้าจอ เป็นรายการ ประวัติการยื่นภาษีแบบ ภ.ง.ด.90/91 ในระยะเวลา 3 ปีภาษี (รวมปีภาษีปัจจุบัน) หลังจากนั้น ให้ท่านกดไปที่ “ตรวจสอบข้อมูล” ได้เลย
6. ระบบจะแสดงรายการเพื่อให้ตรวจสอบสิทธิลดหย่อนภาษี

ข้อมูลค่าลดหย่อนผ่าน My Tax Account
1. ค่าใช้จ่ายส่วนตัวและครอบครัว
ประวัติการใช้สิทธิลดหย่อนส่วนตัวและครอบครัว ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผู้เสียภาษีได้เคยใช้สิทธิในการยื่นแบบผ่านระบบ e-Filing ในปีภาษีที่ผ่านมา
ค่าอุปการะเลี้ยงดูคนพิการ ซึ่งเป็นข้อมูลที่กรมสรรพากรได้รับจากกรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
2. การออมและการลงทุน
เงินสะสมกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับจาก กบข.
เงินสมทบกองทุนประกันสังคม (เฉพาะกรณีการนำส่งเงินสมทบกองทุนประกันสังคมที่นายจ้างนำส่งให้แทนลูกจ้าง) ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับจากสำนักงานประกันสังคม
เงินสะสมกองทุนเงินออมแห่งชาติ (กอช.) ซึ่งเป็นข้อมูลที่กรมสรรพากรได้รับจากกองทุนการออมแห่งชาติ
ค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และค่าซื้อหน่วยลงทุนในกองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ซึ่งเป็นข้อมูลที่กรมสรรพากรได้รับจากบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม
3. ดอกเบี้ยกู้ยืมที่อยู่อาศัย
ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อซื้อ เช่าซื้อ หรือสร้างอาคารที่อยู่อาศัย ซึ่งเป็นข้อมูลที่ได้รับจากหน่วยงานผู้ให้กู้ เช่น ธนาคาร ภายใต้การได้รับความยินยอมจากผู้เสียภาษี
4. มาตรการช้อปดีมีคืน
ลดหย่อนโครงการช้อปดีมีคืน ไม่เกิน 40,000 บาท
5. เงินบริจาค

ลดหย่อนเงินบริจาคทั่วไป ไม่เกิน 10% ของเงินได้
ลดหย่อนเงินบริจาคเพื่อการศึกษา การกีฬา และการบริจาคสาธารณะ 2 เท่าของเงินบริจาค แต่ไม่เกิน 10% ของเงินได้
ลดหย่อนเงินบริจาคให้กับพรรคการเมือง ไม่เกิน 10,000 บาท

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Scroll to Top